กิจกรรม 24 - 28 มกราคม 2554

ส่งงาน

ตอบข้อ  1.
อธิบาย
เมื่อวัตถุมีความเร่งในช่วงเวลาหนึ่ง ความเร็วของมันจะเปลี่ยนแปลงไป ความเร่งอาจมีค่าเป็นบวกหรือลบก็ได้ ซึ่งเรามักว่าเรียกความเร่ง กับ ความหน่วง ตามลำดับ ความเร่งมีนิยามว่า "อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุในช่วงเวลาหนึ่ง"
ที่มา.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%87

ตอบข้อ  3.
อธิบาย
อัตราเร็วเฉลี่ยที่หาได้ในช่วงเวลาสั้น ๆ จะเป็นอัตราเร็วขณะหนึ่ง (Instantaneous Speed) ซึ่งหมายถึงอัตราเร็ว ณ เวลานั้นหรือตำแหน่งนั้น โดยอัตราเร็วที่ใช้กันทั่วไปในชีวิตประจำวันก็เป็นอัตราเร็วขณะหนึ่ง เช่น อัตราเร็วที่อ่านได้จากมาตรวัดในรถยนต์


ตอบข้อ  4.
อธิบาย
 มีลักษณะการเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้ง เราจะสามารถสังเกตเห็นปรากฏการณ์นี้ได้จากในชีวิตประจำวันมากมาย เช่น การเคลื่อนที่ของลูกบาสเกตบอล, ไฟจากพลุที่แตกกระจายบนท้องฟ้า, การขว้างลูกรักบี้ เป็นต้น เมื่อเราสังเกตทิศทางการเคลื่อนที่เราจะสังเกตุได้ว่า เส้นทางการเคลื่อนที่นั้นจะเป็นเส้นโค้ง เรียกการเคลื่อนที่นี้ว่า การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์
ที่มา.http://my1.dek-d.com/arissina_physic/diary/?day=2008-11-25



ตอบข้อ  2.
อธิบาย
ความถี่ (อังกฤษ: frequency) คือปริมาณที่บ่งบอกจำนวนครั้งที่เหตุการณ์เกิดขึ้นในเวลาหนึ่ง การวัดความถี่สามารถทำได้โดยกำหนดช่วงเวลาคงที่ค่าหนึ่ง นับจำนวนครั้งที่เหตุการณ์เกิดขึ้น นำจำนวนครั้งหารด้วยระยะเวลา และ คาบ เป็นส่วนกลับของความถี่ หมายถึงเวลาที่ใช้ไปในการเคลื่อนที่ครบหนึ่งรอบ
ที่มา.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%96%E0%B8%B5%E0%B9%88


ตอบข้อ 2.
อธิบาย
แรงลัพธ์
การเล่นชักเย่อในงานประจำปี ฝ่ายดำและฝ่ายขาวออดแรงดึงฝ่ายตรงข้าม แต่ยังไม่มีฝ่ายใดขยับ แสดงว่าทั้งฝ่ายดำและฝ่ายขาวออกแรงดึงเท่าๆกัน เหตุการณ์นี้หายถึง แรงลัพธ์ของฝ่ายดำและฝ่ายขาวเป็นศูนย์ หากฝ่ายขาวเป็นฝ่ายชนะในการเล่นชักเย่อ แสดงว่าฝ่ายขาวออกแรงมากกว่าฝ่ายดำ ความแตกต่างของแรงฝ่ายขาวและฝ่ายดำ เรียกว่า แรงลัพธ์ ผลของแรงลัพธ์ที่มีค่าเป็นศูนย์ทำให้สิ่งต่างหยุดนิ่งอยู่กับที่ เช่น วัตถุที่วางอยู่บนโต๊ะไม่มีแรงมากระทำกับวัตถุชิ้นนี้ แสดงว่าแรงลัพธ์ที่กระทำกับวัตถุชิ้นนี้เป็นศูนย์ เด็กชาย 2 คน ออกแรงดึงวัตถุคนละข้างด้วยแรงที่เท่าๆกัน แสดงว่าแรงลัพธ์ที่กระทำกับวัตถุนี้เป็นศูนย์ ตาชั่งสองแขนใช้หลักการของแรงลัพธ์ที่เท่ากันมาประดิษฐ์
ที่มา.http://www.maceducation.com/e-knowledge/2362204100/10.htm

ตอบข้อ 4.
อธิบาย
การเคลื่อนที่ของวัตถุ ในเงื่อนไขต่างๆ กัน  จากการเคลื่อนที่ จะแสดงแถบกระดาษ ของการเคลื่อนที่ และกราฟของการกระจัด ความเร็ว ความเร่งกับเวลา ของการเคลื่อนที่ตามเงื่อนไขดังกล่าว
   
รูปที่ 1 แสดงแถบกระดาษของวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ โดยมีทิศทางไปทางซ้าย  
วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งด้วยอัตราเร็วคงที่ไปทางซ้ายมือ     เมื่อนำแถบกระดาษที่สอดผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา มาพิจารณา จะได้ ลักษณะของจุดบนแถบกระดาษ ดังรูป 1(บน) จากแถบกระดาษพบว่าระยะห่างระหว่างช่วงจุดจะเท่า ๆ กัน(แสดงว่าอัตราเร็วคงที่) ระยะการกระจัดของวัตถุจะเป็นลบเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ (ให้ทิศไปทางขวามือเป็นบวก) และเมื่อนำระยะห่างบนจุดกระดาษไปเขียนกราฟระหว่างการกระจัดกับเวลาจะได้กราฟรูปซ้ายมือ เส้นกราฟมีลักษณะของเส้นตรงซึ่งสามารถหาความชันได้ โดยความชันก็คือความเร็วของการเคลื่อนที่ ซึ่งเป็นความเร็วที่คงที่(กราฟรูปกลาง)   โดยความเร็ว จะเป็นลบ มีค่า = -12 m/s และกราฟความเร่งกับเวลา(รูปขวามือ)เร่งเท่ากับศูนย์ตลอดเวลาการเคลื่อนที่
ที่มา.http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/73/1/motion.htm

ตอบข้อ  3.
อธิบาย
สนามแม่เหล็ก นั้นอาจเกิดขึ้นได้จากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า หรือในทางกลศาสตร์ควอนตัมนั้น การสปิน(การหมุนรอบตัวเอง) ของอนุภาคต่างๆ ก็ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กเช่นกัน ซึ่งสนามแม่เหล็กที่เกิดจากการ สปิน เป็นที่มาของสนามแม่เหล็กของแม่เหล็กถาวรต่างๆ
สนามแม่เหล็กคือปริมาณที่บ่งบอกแรงกระทำบนประจุที่กำลังเคลื่อนที่ สนามแม่เหล็กเป็นสนามเวกเตอร์และทิศของสนามแม่เหล็ก ณ ตำแน่งใดๆ คือทิศที่เข็มของเข็มทิศวางตัวอย่างสมดุล
ที่มา.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81


ตอบข้อ  4.
อธิบาย
เข็มทิศทำขึ้นจากแท่งแม่เหล็กแท่งเล็กๆขนาดเบา  วางอยู่บนเข็มที่ไม่มีแรงเสียดทาน  ปลายหนึ่งของเข็มทิศทำเครื่องหมายเป็นขั้วเหนือ  หรือใช้วิธีป้ายสีแสดงไว้ว่าเป็นขั้วเหนือ
       เหตุผลที่ว่าทำไมเข็มทิศจึงชี้ไปทางขั้วเหนืออยู่เสมอ   ก็เพราะว่า โลกของเราเปรียบได้กับแท่งแม่เหล็กขนาดใหญ่  โดยเราตั้งมาตรฐานร่วมกันว่า แม่เหล็กที่อยู่ในโลกขั้วเหนือของโลกให้เป็นขั้วใต้ของแท่งแม่เหล็กโลก



ตอบข้อ 4.
อธิบายอนุภาค (particle) มาจาภาษาละตินซึ่งหมายถึง ส่วนเล็ก ๆ (little part) ดังนั้นอนุภาคในความหมายทั่ว ๆ ไป หมายถึงสิ่งที่มีขนาดเล็กมากที่คงทำให้นึกถึงฝุ่นผงที่ตามองเห็นได้ แต่ในทางวิทยาศาสตร์มองว่าอนุภาคเป็นส่วนที่เล็กมากที่ประกอบกันขึ้นมาเป็นสสาร เช่น ผลึก โมเลกุล อะตอม ซึ่งแม้มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า แต่ก็อาจมองเห็นได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนหรืออุปกรณ์วิเคราะห์ภาพชนิดต่าง ๆ และที่ยังเล็กลงไปกว่านั้นอีก ซึ่งอนุภาคบางชนิด ก็ยังไม่มีเครื่องมือชนิดใดจับภาพได้โดยตรง เพียงแต่พิสูจน์โดยทางอ้อมได้ว่ามีอยู่จริง
ที่มา.http://www.tint.or.th/nkc/nkc5001/nkc5001b.html


ตอบข้อ  3.
อธิบาย
คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ที่มีช่วงความยาวคลื่นสั้นกว่ารังสีเอกซ์ (X-ray) ที่มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 10-13 ถึง 10-17 หรือก็คือคลื่นที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 10-13 นั่นเอง การที่ความยาวคลื่นสั้นนั้น ย่อมหมายถึงความถี่ที่สูง และพลังงานที่สูงตามไปด้วย ดังนั้นรังสีแกมมาถือเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงที่สุดในบรรดาคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ที่เหลือทั้งหมด
ที่มา.

4 ความคิดเห็น:

  1. ไม่ระบุชื่อ26 มกราคม 2554 เวลา 00:10

    ตรวจงานท้ายชั่วโมง

    ตอบลบ
  2. น.ส. ดวงใจ กระแจะจันทร์ ม.5/1 เลขที่ 29
    น.ส. ธิดา พันธ์เรือง ม.5/1 เลขที่ 33
    ตรวจงานได้ค่ะ
    ประเมิน คะแนนเต็มคะแนน100 ให้ 87คะแนน
    http://t2535133.blogspot.com/p/13-17-2553.html

    ตอบลบ
  3. จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน-ให้ 80 คะแนน
    น.ส.อารีรัตน์ กล่อมดี ม.5/1 เลขที่ 42
    น.ส.นพวรรณ อ่อนละออ ม.5/1 เลขที่ 34

    ตอบลบ
  4. รวม 2 คน เต็ม 200 คะแนน ได้ 137
    หาร 2 เต็ม 100คะแนน ได้ 68.5

    ตอบลบ